วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ประวัติส่วนตัวว
นางสาวอัฏชา ศิริรัตน์
ชื่อเล่น ฟาร์
เกิดวัน เสาร์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2536
จบจาก วิทยาลัยเทคนิคกระบี่
E-Mail : kan_cha_@hotmail.com
ยุคของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
มาร์ค วัน
อินิแอค
ยูนิแวค
ยูนิแวค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
เทคนิค flash พื้นฐาน เคลื่อนที่ตามเส้นแบบเนียนๆ
มาดูขั้นตอนการทำเลยค่ะ
1. ขั้นแรกเราต้องเตรียมรูป ไว้ก่อน
7. สร้าง guide โดยไปที่ปุ่ม ตามรูปด้านล่างนี้ค่ะ
9.จากนั้นก็กลับมาที่ เลเยอร์ leave เฟรม 1และนำเมาส์ไปล่าง รูปใบไม้ให้มาติดกับเส้นด้านบนที่เราวาดไว้
10 มาที่เลเยอร์ 35 บ้างคับ ทำเหมือนกับขั้นตอนที่ 9 คับ แต่คราวนี้เราย้ายจากจุดเริ่มต้น มาไว้ยังจุดสุดท้ายของเส้นโดยให้จุดวงกลมมันติดกับเส้น guide
11. นำเมาส์มาวางที่เลเยอร์ leave แล้วคลิกขวาเลือก create motion tween
อ้างอิง :: http://www.sadung.com/?p=311
1. ขั้นแรกเราต้องเตรียมรูป ไว้ก่อน
2. จากนั้นเราก็เปิดโปรแกรม flash cs ขึ้นมา แล้วสร้างเอกสารขึ้นมาใหม่ กำหนดขนาด size(properties ด้านล่าง ถ้าไม่เจอกด ctrl+F3 ) ให้เท่ากับภาพเราากตัวอย่างใช้ 280*300 และกำหนด frame rate
12
3. import รูปทั้งสองเข้ามา Ctrl+ R หรือ file > import > > import to stage… จากนั้นรูปจะเข้ามาอยู่ ใน stage เข้าในเฟรม1 เลเยอร์ 1 ลบมันออกก่อนค่ะ
12
3. import รูปทั้งสองเข้ามา Ctrl+ R หรือ file > import > > import to stage… จากนั้นรูปจะเข้ามาอยู่ ใน stage เข้าในเฟรม1 เลเยอร์ 1 ลบมันออกก่อนค่ะ
4.เปลี่ยนชื่อ layer1 ให้เป็น bg และนำรูปพื้น bg มาใส่ในเลเยอร์ bg
5. สร้างเลเยอร์ข้นมาใหม่อีก1เลเยอร์ ชื่อว่า leave และนำรูปใบไม้ที่เตรียมไว้ นำไปใส่ไว้ในเลเยอร์นี้
5. สร้างเลเยอร์ข้นมาใหม่อีก1เลเยอร์ ชื่อว่า leave และนำรูปใบไม้ที่เตรียมไว้ นำไปใส่ไว้ในเลเยอร์นี้
6.ที่เลเยอร์ leave กด F8 เพื่อ convert to symbol ตั้งชื่อ leave_mc เลือกช่อง Graphic กดOK และไปกด F6 ที่เลเยอร์ leave เฟรม 35
8.จากนั้นก็ใช้เครื่องมือ pencil หรือ line,pen ก็ได้จากตัวอย่างนี้ใช้ pencilคับ วาดทิศทางในการเคลื่อนที่
10 มาที่เลเยอร์ 35 บ้างคับ ทำเหมือนกับขั้นตอนที่ 9 คับ แต่คราวนี้เราย้ายจากจุดเริ่มต้น มาไว้ยังจุดสุดท้ายของเส้นโดยให้จุดวงกลมมันติดกับเส้น guide
11. นำเมาส์มาวางที่เลเยอร์ leave แล้วคลิกขวาเลือก create motion tween
สุดท้ายดูผลเลยค่ะ ctrl+enter
อ้างอิง :: http://www.sadung.com/?p=311
วันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2554
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
จากความหมายของ "คอมพิวเตอร์" ก็คงจะมองออกว่า คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ ต้องประกอบด้วยส่วนการทำงานอะไรบ้าง
นั่นคือ คอมพิวเตอร์ต้องประกอบด้วยส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง ส่วนประมวลผล ส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผล
และส่วนในการเก็บบันทึกข้อมูล ซึ่งเรียกรวมกันว่า "องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์" อันได้แก่
· ส่วนที่นำเอาข้อมูลและคำสั่งไปประมวลผล เรียกว่า หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit ;CPU)
· ส่วนที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์เรียกว่า หน่วยแสดงผล (Output Unit)
· ส่วนที่ทำหน้าที่บันทึกคำสั่งและข้อมูล อย่างถาวร เรียกว่า หน่วยความจำรอง (Secondary Storage Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยหน่วยย่อย ดังนี้
1. หน่วยควบคุม (Control Unit)
2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit ; ALU)
3. หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit)
1. หน่วยควบคุม (Control Unit)
2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit ; ALU)
3. หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit)
การสื่อสารระหว่างหน่วยต่างๆ ใน CPU จะใช้สายสัญญาณที่เรียกว่า Bus Line หรือ Data Bus
ความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ และคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาแนวคิดมาจาก "ลูกคิด"
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่มีสาระอยู่ในตัว
สามารถสื่อความหมายให้เกิดการเข้าใจกับผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลนั้น
และสามารถที่จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
การที่จะได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการนั้นจะต้องนำข้อมูล (data)
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจมาทำการประมวลผลเสียก่อน
โดยข้อมูลที่นำมาประมวลผลนั้นอาจจะมาจากแหล่งข้อมูลทั้ง
ภายในหรือภายนอกองค์การ
Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ
ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ
เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
สรุปเลขฐาน 2,8,10,16 อาทิตย์ที่2
ระบบเลขฐานสอง คือ ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1
มีค่าประจำหลักตั้งแต่ 1 2 4 8 16 32 64 128 256......
การคำนวณเลขฐานสอง
การบวก มีหลักดังนี้
0 + 0 = 0
0 + 1 = 1
1 + 0 = 1
1 + 1 = 10 (ทด 1)
การลบ มีหลักดังนี้
0 - 0 = 0
0 - 1 = 1 ยืมจากหลักที่สูงกว่า 1
1 - 0 = 1
1 - 1 = 0
การคูณ มีหลักดังนี้
0 x 0 = 0
0 x 1 = 0
1 x 0 = 0
1 x 1 = 1
การหาร มีหลักดังนี้
ใช้หลักการหารยาวเหมือนเลขฐาน 10
ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
มีค่าประจำหลักตั้งแต่ 1,8,64,512.......
การคำนวณเลขฐานแปด
กระทำโดยใช้หลักเกณฑ์คล้าย ๆกันกับเลขฐาน 2
การบวก ตัวอย่าง 77678 + 76728 มีค่าเท่าใด
วิธีทำ 7 7 6 7 + 7 + 2 = 910 = 118 ใส่ 1 แล้วทด 1 หลักถัดไป
7 6 7 2 1(ทด) + 6 + 7 = 1410 = 168 ใส่ 6 แล้วทด 1 หลักถัดไป
1 7 6 6 1 1(ทด) + 7 + 6 = 1410 = 168 ใส่ 6 แล้วทด 1 หลักถัดไป
1(ทด) + 7 + 7 = 1510 = 178การลบ
ตัวอย่าง 4258 - 2768 มีค่าเท่าใด
วิธีทำ
4 2 5 - หลัก 0 5 - 6 ยืมหลักหน้าเป็น (8) + 5 - 6 = 710 = 78
2 7 6 หลัก 1 2 ถูกยืมไป 1 เหลือ 1 => 1 - 7 ต้องยืมหลักหน้า (8) + 2 - 7 = 210 = 28
1 2 7
หลัก 2 4 ถูกยืมไป 1 เหลือ 3 => 3 - 2 = 110 = 18
ระบบเลขฐาน 16 มีตัวเลขอยู่ 16 ตัว คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F
การบวก
ตัวอย่าง 7A716 + 2EA16 มีค่าเท่าใด
วิธีทำ
7 A 7 + หลัก 0 7 + 10 = 1710 = 1116 ใส่ 1 แล้วทด 1 หลักถัดไป
2 E A หลัก 1 (1) + 10 + 14 = 2510 = 1916 ใส่ 9 แล้วทด 1 หลักถัดไป
A 9 1 หลัก 2 (1) + 7 + 2 = 1010 = A16
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)